ย้ำอีกครั้งว่าเรื่องหลวงพ่อธัมมชโยเป็นเรื่องซึ่งต้องปล่อยให้ผู้เกี่ยวข้องหาทางออกภายในกรอบของกฎหมาย กลุ่มต้านธรรมกายไม่ต้องฉวยโอกาสใช้เรื่องนี้กำจัดธรรมกาย และสื่อกลุ่มกระหายเลือดก็ไม่ต้องตั้งประเด็นประเภท "ทำไมไม่บุกสักที" "ฉายหนังซ้ำซาก คนดูเบื่อแล้ว" หรือ "รัฐบาลอย่าดีแต่พูด" เพื่อยั่วให้เจ้าหน้าที่รัฐส่งกองกำลังบุกวัดและใช้ความรุนแรงด้วย....
อ่านต่อhttps://www.facebook.com/sirote.klampaiboon/posts/1294404993962925
เมื่อคุณ ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ ออกมาเขียนเเนะนำ เตือนสติ บทบาท ของเเต่ละฝ่ายให้ดำเนินการตามบทบาท อำนาจ หน้าที่ในกรอบของตัวเอง
โดยเฉพาะสื่อมวลชน เเละคนดู ที่ไม่มีส่วนรู้เห็น หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกายโดยตรง
กลับเเสดงพลังกดดัน เพื่ออยากเห็นฉากจบไวๆ
ทั้งๆที่มองไม่เห็นว่า ไม่ว่าจุดจบจะเป็นอย่างไร ย่อมไม่ถูกใจทุกฝ่ายเเน่นอน
เเต่สิ่งที่จะเห็นชัดๆคือ ภาพของพระพุทธศาสนาที่มัวหมอง
สังคมกำลัง สาดสี ตีไข่ มีทั้งเรื่องจริง เรื่องเท็จปะปนกัน
ทั้งๆที่ความเป็นจริง ตัววัดพระธรรมกาย เป็นเพืยงวัดๆหนึ่ง
มีการดำเนินการ เเละบริหาร โดยกลุ่มบัณฑิตของประเทศที่เรียนจบ
เเล้วมีศรัทธา ออกบวช ใช้วิธีการเผยเเผ่ผ่านสื่อทันสมัย
ซึ่งก็ไม่เเปลกอะไร ถ้าสื่อสมัยใหม่ที่มาตามยุค จะถูกดัดเเปลงเอามาใช้เพื่อ
ให้คนเข้าถึงคำสอนทางพระพุทธศาสนาดั้งเดิมได้
ผิด ถูก ไม่ต้องกลัว มีทั้งพระ ฆราวาสที่ทรงภูมิธรรมคอยตรวจตรา
อย่างเข้มข้นเเละก็ไม่ต้องกลัวว่าจะมีเฉพาะผู้ทรงความรู้เพียงในประเทศ
เเม้ต่างประเทศก็จับตาดูกัน อย่างไม่คลาดสายตา
การดำเนินงาน จัดงาน โดยการรวม บ้าน วัด โรงเรียน ให้มาประสานงานกัน
งานพิธีกรรมพุทธ ถูกปรับให้เหมาะสม กับทุกเพศ วัย
ตั้งเเต่เด็ก ผู้ใหญ่ วัยชรา
จึงไม่เเปลกที่ปริมาณคนที่เข้าวัด จะเพิ่มขึ้นตลอด จนต้องขยายศาลาปฏิบัติธรรม
ภายในช่วงอายุคน ถึงสามครั้ง เพราะไม่เช่นนั้น วัดคงเเตก!!! เพราะคนมาเต็มวัด
ปริมาณคนที่เพิ่ม กับปริมาณเงินบริจาค ซึ่งเป็นเเหล่งรายได้เดียวของวัด
ย่อมเพิ่ม สอดคล้องตามกัน
เเต่ก็มีที่มา เเละที่ไป อย่างชัดเจน มีฝ่ายบริหารดูเเล ควบคุม
จนเป็นอาคาร สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่มากมาย
เเต่ก็เป็นไปเพื่อรองรับ คนที่เดินทางมาวัด
ทั้ง อาคารหอฉันพระ ตึกทำงานคนในวัด อาคารปฏิบัติธรรม
ลานเจดีย์ประกอบพิธีกรรม หรือ ตึกที่พักพระ เจ้าหน้าที่ คนงาน
เเละเเน่นอน เมื่อความสบายใจในการมาปฏิบัติธรรมมีมาก
ความศรัทธา ก็ในการทำบุญเเต่ละคน ก็ย่อมไม่เท่ากัน
จะมาก จะน้อย เเล้วเเต่ความศรัทธา
วัดมีหน้าที่บริหาร ให้เป็นเอกสารรับบริจาคที่ชัดเจน
เเต่กลับกลาย เป็น ข้อกังขา ของคนไม่เข้าวัด
หรืออยากจะเข้าวัด เเต่เป็นเข้ามาเอาเงินวัด
รับไม่ได้????
เข้าทำนอง เดือดร้อนอะไร จะเอาเเค่สะใจเเค่นั้นหรือ
วัดพระธรรมกายพังวันนี้
ใครได้ผลประโยชน์บ้าง
เเค่คนกลุ่มหนึ่งที่ถูกสั่งงาน
เเค่คนกลุ่มหนึ่งที่สะใจ
เเค่คนกลุ่มหนึ่งที่อะไรก็ได้
คนอีกเป็นล้านทั่วโลก ที่เข้าวัด ฟังธรรม
ตลอดเนิ่นนานเกือบครึ่งชีวิตเขา
ถ้าคนกลุ่มหนึ่งตอบคำถามได้ว่า
ไม่มีวัดพระธรรมกายวันนี้ คุณหาวัดสำรองอื่นไหนให้เขาเเล้ว
คุณรับผิดชอบความศรัทธาของคนนับล้านได้หรือยัง
ยิ่งกว่าลอยเเพคนตกงานเลยน่ะ!!!
สังคมอยู่ยากขึ้นทุกวัน จริงๆ
***ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
อาจารย์พิเศษด้านทฤษฎีสังคมศาสตร์และสิทธิมนุษยชนศึกษาจากโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล ศิโรตม์ศึกษาด้านรัฐศาสตร์และ International Cultural Studies จากมหาวิทยาลัย
แห่งมลรัฐฮาวายอิ
เป็นบรรณาธิการหนังสือ ทฤษฎีและความรู้ในยุคโลกาภิวัตน์ (2544), จักรวรรดินิยมและการก่อการร้าย
(2545) ผู้เขียน แรงงานวิจารณ์เจ้า (2547), ประชาธิปไตยไม่ใช่ของเรา (2550), ประชาธิปไตยก็เรื่อง
ของเรา (2554) ผู้แปล Global Nonkilling Political Science ของ Glain Paige (2552) และ Identity
and Violence ของ Amartya Sen (อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์)
Cr:http://www.jimthompsonhouse.com/thai/events/Primitive-Programs.asp
:https://i.ytimg.com/vi/Jg_LtP6m9qo/hqdefault.jpg
เมื่อคุณ ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ ออกมาเขียนเเนะนำ เตือนสติ บทบาท ของเเต่ละฝ่ายให้ดำเนินการตามบทบาท อำนาจ หน้าที่ในกรอบของตัวเอง
โดยเฉพาะสื่อมวลชน เเละคนดู ที่ไม่มีส่วนรู้เห็น หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกายโดยตรง
กลับเเสดงพลังกดดัน เพื่ออยากเห็นฉากจบไวๆ
ทั้งๆที่มองไม่เห็นว่า ไม่ว่าจุดจบจะเป็นอย่างไร ย่อมไม่ถูกใจทุกฝ่ายเเน่นอน
เเต่สิ่งที่จะเห็นชัดๆคือ ภาพของพระพุทธศาสนาที่มัวหมอง
สังคมกำลัง สาดสี ตีไข่ มีทั้งเรื่องจริง เรื่องเท็จปะปนกัน
ทั้งๆที่ความเป็นจริง ตัววัดพระธรรมกาย เป็นเพืยงวัดๆหนึ่ง
มีการดำเนินการ เเละบริหาร โดยกลุ่มบัณฑิตของประเทศที่เรียนจบ
เเล้วมีศรัทธา ออกบวช ใช้วิธีการเผยเเผ่ผ่านสื่อทันสมัย
ซึ่งก็ไม่เเปลกอะไร ถ้าสื่อสมัยใหม่ที่มาตามยุค จะถูกดัดเเปลงเอามาใช้เพื่อ
ให้คนเข้าถึงคำสอนทางพระพุทธศาสนาดั้งเดิมได้
ผิด ถูก ไม่ต้องกลัว มีทั้งพระ ฆราวาสที่ทรงภูมิธรรมคอยตรวจตรา
อย่างเข้มข้นเเละก็ไม่ต้องกลัวว่าจะมีเฉพาะผู้ทรงความรู้เพียงในประเทศ
เเม้ต่างประเทศก็จับตาดูกัน อย่างไม่คลาดสายตา
การดำเนินงาน จัดงาน โดยการรวม บ้าน วัด โรงเรียน ให้มาประสานงานกัน
งานพิธีกรรมพุทธ ถูกปรับให้เหมาะสม กับทุกเพศ วัย
ตั้งเเต่เด็ก ผู้ใหญ่ วัยชรา
จึงไม่เเปลกที่ปริมาณคนที่เข้าวัด จะเพิ่มขึ้นตลอด จนต้องขยายศาลาปฏิบัติธรรม
ภายในช่วงอายุคน ถึงสามครั้ง เพราะไม่เช่นนั้น วัดคงเเตก!!! เพราะคนมาเต็มวัด
ปริมาณคนที่เพิ่ม กับปริมาณเงินบริจาค ซึ่งเป็นเเหล่งรายได้เดียวของวัด
ย่อมเพิ่ม สอดคล้องตามกัน
เเต่ก็มีที่มา เเละที่ไป อย่างชัดเจน มีฝ่ายบริหารดูเเล ควบคุม
จนเป็นอาคาร สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่มากมาย
เเต่ก็เป็นไปเพื่อรองรับ คนที่เดินทางมาวัด
ทั้ง อาคารหอฉันพระ ตึกทำงานคนในวัด อาคารปฏิบัติธรรม
ลานเจดีย์ประกอบพิธีกรรม หรือ ตึกที่พักพระ เจ้าหน้าที่ คนงาน
เเละเเน่นอน เมื่อความสบายใจในการมาปฏิบัติธรรมมีมาก
ความศรัทธา ก็ในการทำบุญเเต่ละคน ก็ย่อมไม่เท่ากัน
จะมาก จะน้อย เเล้วเเต่ความศรัทธา
วัดมีหน้าที่บริหาร ให้เป็นเอกสารรับบริจาคที่ชัดเจน
เเต่กลับกลาย เป็น ข้อกังขา ของคนไม่เข้าวัด
หรืออยากจะเข้าวัด เเต่เป็นเข้ามาเอาเงินวัด
รับไม่ได้????
เข้าทำนอง เดือดร้อนอะไร จะเอาเเค่สะใจเเค่นั้นหรือ
วัดพระธรรมกายพังวันนี้
ใครได้ผลประโยชน์บ้าง
เเค่คนกลุ่มหนึ่งที่ถูกสั่งงาน
เเค่คนกลุ่มหนึ่งที่สะใจ
เเค่คนกลุ่มหนึ่งที่อะไรก็ได้
เเต่
คนอีกเป็นล้านทั่วโลก ที่เข้าวัด ฟังธรรม
ตลอดเนิ่นนานเกือบครึ่งชีวิตเขา
ถ้าคนกลุ่มหนึ่งตอบคำถามได้ว่า
ไม่มีวัดพระธรรมกายวันนี้ คุณหาวัดสำรองอื่นไหนให้เขาเเล้ว
คุณรับผิดชอบความศรัทธาของคนนับล้านได้หรือยัง
ยิ่งกว่าลอยเเพคนตกงานเลยน่ะ!!!
สังคมอยู่ยากขึ้นทุกวัน จริงๆ
***ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
อาจารย์พิเศษด้านทฤษฎีสังคมศาสตร์และสิทธิมนุษยชนศึกษาจากโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล ศิโรตม์ศึกษาด้านรัฐศาสตร์และ International Cultural Studies จากมหาวิทยาลัย
แห่งมลรัฐฮาวายอิ
เป็นบรรณาธิการหนังสือ ทฤษฎีและความรู้ในยุคโลกาภิวัตน์ (2544), จักรวรรดินิยมและการก่อการร้าย
(2545) ผู้เขียน แรงงานวิจารณ์เจ้า (2547), ประชาธิปไตยไม่ใช่ของเรา (2550), ประชาธิปไตยก็เรื่อง
ของเรา (2554) ผู้แปล Global Nonkilling Political Science ของ Glain Paige (2552) และ Identity
and Violence ของ Amartya Sen (อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์)
Cr:http://www.jimthompsonhouse.com/thai/events/Primitive-Programs.asp
:https://i.ytimg.com/vi/Jg_LtP6m9qo/hqdefault.jpg
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น